กำหนดการประชุม
08.30 - 9.00 ลงทะเบียน

พิธีกรตลอดรายการ : ดร.จรัมพร โห้ลำยอง

09.00 - 09.10 กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการประชุม
โดย: รศ.ดร. สุรีย์พร  พันพึ่งผู้อำนวยการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม 
09.20 - 09.30 ประธานกล่าวเปิดการประชุม
โดย: ศ.นายแพทย์รัชตะ รัชตะนาวินอธิการบดี  มหาวิทยาลัยมหิดล
09.30 – 10.00 ปาฐกถานำ “ประชากรชายขอบและความไม่เป็นธรรมในสังคมไทย”
โดย:  ศาสตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี
10.00 - 10.20 พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  • การนำเสนอบทความอภิปรายช่วงเช้า ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.ชาย โพธิสิตา
10.20 - 10.30
แนะนำวิทยากร
10.30 – 10.45 มองหาความเป็นธรรมในสังคมผ่านคนชายขอบ
โดย: รศ.ดร. กฤตยา อาชวนิจกุล
10.45 – 11.00 จำนวนและการกระจายของประชากรชายขอบในประเทศไทย
โดย: รศ.ดร.สุรีย์พร พันพึ่ง
11.00 – 11.15 สถานการณ์และท่าทีของรัฐแรกรับต่อปัญหาผู้ลี้ภัยแบบยืดเยื้อในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ความยืดหยุ่นคือหนทางออก
โดย: ดร. สักกรินทร์ นิยมศิลป์
11.15 – 12.00 ให้ความเห็นต่อบทความ
โดย:  1. ศาสตราจารย์ ดร.อานันท์ กาญจนพันธุ์
2. ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี
12.00 – 12.30 เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
12.30 - 13.30 รับประทานอาหารกลางวัน

ภาคบ่าย  13.30-16.00 น. การนำเสนอบทความตามประเด็นกลุ่มย่อย

ห้องย่อยที่ 1 : ประชากรกับกระบวนการเป็นชายขอบ
ห้องย่อยที่ 1  (G1)
ประชากรกับกระบวนการเป็นชายขอบ
ดำเนินรายการโดย: ผศ.ดร.พิมลพรรณ อิศรภักดี
ให้ความเห็นโดย: ดร.รัตนา โตสกุล
1) มุสลิมในประเทศไทย: ชายขอบหรือเพียงแค่แตกต่าง?     
    โดย:  อารี จำปากลาย 
2) ผู้สูงอายุ : คนวงในที่จะถูกผลักให้ไปอยู่ชายขอบ
    โดย: ปราโมทย์ ประสาทกุล 

3) ความท้าทายในการขจัดแรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวร้าย

    โดย: ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต 
4) รัฐไทยกับชีวิตคู่แบบเพศวิถีนอบขนบ
    โดย  กนกวรรณ ธราวรรณ
เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
 
 
ห้องย่อยที่ 2 : ความเป็นชายขอบกับการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ
ห้องย่อยที่ 2  (G2)
ความเป็นชายขอบกับการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ
ดำเนินรายการโดย: ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์
ให้ความเห็นโดย: รศ.ดร.วาสนา อิ่มเอม
1) สตรีผู้พิการและการเข้าถึงบริการอนามัยเจริญพันธุ์ 
     โดย: อมรา สุนทรธาดา 
2) อนามัยเจริญพันธุ์ของชาวไทยมุสลิมปัตตานี: ความแตกต่างที่ไม่กลายเป็นชายขอบ?
    โดย: กุศล สุนทรธาดา
3) การตีตราชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในกระบวนการดำเนินงานแก้ปัญหาเอดส์
    โดย: นิพนธ์ ดาราวุฒิมาประกรณ์ 
4) เสียงจาก "ชายขอบ" : การเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนเพื่อคนใช้ยาเสพติดในประเทศไทย
  โดย: สุชาดา ทวีสิทธิ์
เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ห้องย่อยที่ 3 : ความเป็นชายขอบกับการเข้าถึงบริการด้านสังคม
ห้องย่อยที่ 3  (G3)
ความเป็นชายขอบกับการเข้าถึงบริการด้านสังคม
ดำเนินรายการโดย: รศ.ดร.โยธินแสวงดี
ให้ความเห็นโดย: ดร.วราภรณ์ แช่มสนิท
1) ผู้รับงานไปทำที่บ้าน: แรงงานชายขอบของสังคมไทย ใครกำหนด?
     โดย: อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์
2) การเข้าไม่ถึงกองทุนเงินทดแทนอุบัติเหตุ: ภาพสะท้อนความอยุติธรรมต่อแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย
    โดย:  บงกช นภาอัมพร
3) การศึกษาถ้วนหน้า: เด็กข้ามชาติในสวนยางพาราจะมีโอกาสหรือไม่? 
     โดย: มาลี สันภูวรรณ์
4) ครอบครัวแม่เดี่ยว : การเป็นชายขอบและความไม่เป็นธรรมในสังคม
    โดย: กมลชนก ขำสุวรรณ 
5) เกษียณเมื่อไหร่ ให้ใครกําหนด?
     โดย: มนสิการ กาญจนะจิตรา
เปิดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
 
www.ipsr.mahidol.ac.th - Revised: March 29, 2012
Copyright © Institute for Population and Social Research, Mahidol University
Salaya, Phutthamonthon, Nakhon Pathom 73170, Thailand
Tel. +662-441-0201-4 Fax. +662-441-9333 Webmaster : prwww@mahidol.ac.th