อัตราดอกเบี้ยทบต้นกับอัตราเพิ่มของประชากรไทย

วัฒนา สุนทรธัย
บทคัดย่อ

ในเรื่องของการเงิน เงินรวม คือ เงินต้นรวมกับดอกเบี้ยที่คำานวณตามอัตราดอกเบี้ยที่กำาหนด ซึ่งอัตรานี้มี สองชนิด คือ อัตราดอกเบี้ยคงต้นและอัตราดอกเบี้ยทบต้น อัตราดอกเบี้ยทบต้นก็แบ่งออกเป็น สองชนิด คือ อัตราดอกเบี้ยทบต้นที่มีระยะเวลาแน่นอนกับอัตราดอกเบี้ยทบต้นอย่างต่อเนื่อง ชนิดหลังมีความคล้ายคลึงกับอัตราเพิ่มของประชากรมากกว่าชนิดแรก ความคล้ายคลึงกันระหว่างเงินกับ ประชากร คือ ปริมาณเงินต้นเปรียบเสมือนกับจำานวนประชากรในปีเริ่มต้น ปริมาณเงินรวมเปรียบเสมือนกับจำานวนประชากรในปีสุดท้าย อัตราดอกเบี้ยทบต้นอย่างต่อเนื่องเปรียบเสมือนกับอัตราเพิ่มของประชากร จากความคล้ายคลึงกันนี้ ถ้าทราบอัตราเพิ่มของประชากรก็สามารถคำานวณหาจำานวนประชากรในอนาคตได้ ในการพยากรณ์อัตราเพิ่มของประชากรไทยจากรูปแบบสมการ Quadratic, Cubic กับข้อมูลในปี พ.ศ. 2452 - 2543 และปี พ.ศ. 2503 - 2543 พบว่า อัตราเพิ่มโดยเฉลี่ยของประชากรไทยในปี พ.ศ. 2543 - 2553 คือ 0.542% เมื่อนำอัตรานี้ไปพยากรณ์ประชากรไทยโดยใช้สูตรดอกเบี้ยทบต้นอย่างต่อเนื่อง พบว่า จำานวนประชากรไทย ในปี พ.ศ. 2553 คือ 64 ล้านคน

 

COMPOUND INTEREST AND GROWTH RATES OF THAI POPULATION 

Wattana Sunthornthai
Abstract

In financial study, total amount of money is principal plus interest calculated at a given interest rate. There are two types of interest rate, periodic compounding and continuous compounding. The continuous compounding rate is similar to population growth rate than is the periodic compounding rate. The similarity between population and money is that the principal is like the population in the beginning year and the total amount of money is like the population in the final year. From this similarity, if a population growth rate is known, then we can calculate the future population. According to the Thailand population forecasts, using Quadratic and Cubic equation models for the data during 1909 - 2000 period and 1960 - 2000 period, it showed that the average growth rate of Thai population was 0.542%. When Thai population was forecast at this rate, using continuously compounding formula, it was found that Thai population in the year 2010 was 64 millions.

พฤติกรรมการกระทำาผิดที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารเสพติดของเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

อุษณีย์ พึ่งปาน และ จิตรลดา อารีย์สันติชัย
บทคัดย่อ

เมื่อเดือนเมษายน 2551 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้วยการสนับสนุนจากสำานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ได้ศึกษาเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลางเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้สารเสพติด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้สารเสพติดของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจเด็กและเยาวชนกลาง และเปรียบเทียบการใช้สารเสพติดของเยาวชนที่ถูกจับด้วยคดีที่แตกต่างกัน

ผลการศึกษาเยาวชนจำานวน 1,002 คน (ชาย 888 คน และหญิง 114 คนตามลำาดับ) คิดเป็นร้อยละ 63.3 ของเยาวชนที่อยู่ในสถานพินิจฯ ทั้งหมดในขณะนั้น ได้ข้อค้นพบ 2-3 ประการ ซึ่งมีทั้งที่เหมือนและแตกต่างไปจากการวิจัยอื่น ในส่วนที่เหมือนกัน คือ เยาวชนที่กระทำาผิดเหล่านี้ส่วนใหญ่ไม่ได้เรียนแล้ว จบแค่ระดับประถมศึกษาเท่านั้น บางส่วนก็ไม่ได้เรียน นอกจากนี้เยาวชนที่ต้องโทษด้วยคดีจำาหน่าย และคดีอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดก็เสพยาด้วย แต่ส่วนที่ไม่เหมือนก็คือ สัดส่วนของการใช้และไม่ใช้ยาเสพติดของคดีอื่นที่มิใช่คดีเสพสูงกว่าการศึกษาในอดีต และที่สำาคัญคือการค้นพบว่า เยาวชนกลุ่มนี้เริ่มมีความสัมพันธ์กับการใช้ไอซ์ หรือสารเสพติดตัวหนึ่งในกลุ่มที่เรียกกันว่า club drugs นิยมเสพเพื่อความบันเทิง และผู้ใช้มิใช่กลุ่มที่ถูกจับด้วยคดีเสพด้วย ซึ่งน่าจะมีความหมายว่า การใช้ไอซ์อาจจะมิใช่การใช้เพื่อการเสพติด ข้อค้นพบที่สำาคัญอีกประการหนึ่ง คือ ประมาณร้อยละ 3-5 เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีด โดยเฉพาะการฉีดยาบ้า ซึ่งแตกต่างไปจากการศึกษาในอดีต

สิ่งที่ฝ่ายนโยบายน่าจะเร่งแก้ไข คงมิใช่ยับยั้งการใช้สารเสพติด แต่การป้องกันการเข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติดในกลุ่มเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา อาทิ ให้ความรู้ หามาตรการช่วยเหลือ และต้องเป็นการแก้ปัญหาในระยะยาวอย่างครบวงจร ร่วมกันหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ดำาเนินการพร้อมกันให้ไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่เยาวชนของชาติต่อไป

 

BEHAVIOR OF BREACHING THE LAW RELATED TO ADDICTIVE SUBSTANCE USE IN THE CENTRAL JUVENILE OBSERVATION AND PROTECTION CENTERS

Usaneya Perngparn and Chitlada Areesantichai
ABSTRACT

During April 2008, the College of Public Health Sciences, Chulalongkorn University supported by the Office of Narcotics Control Board has organized a study on addictive substance use among young population in the Central Juvenile Observation and Protection Centers. This study is aimed at monitoring types of addictive substance use among juvenile delinquents in the Juvenile Observation and Protection Centers in Bangkok and central regions, and comparing types of substance use among different cases.

The results from 1,002 juvenile cases (888 male and 114 female respectively) or 63.3% of all young people in the Centers reported a few evidences either similar or different from other studies. This study has also shown the majority of the delinquents already completed the primary schools. Moreover, some have never attended school. The similar evidence is young people with non-drug use cases (drug retailing case or other cases) still use addictive substances. However, the different evidence is that the ratio of use and non-use substance among non-drug use cases ishigher than the previous studies. Noticeably, these youngsters  have experienced using Ice, an addictive substance in club drugs which is popular among nightlife people. In addition, about 3-5% reported intravenous drug use, especially yaba (methamphetamine).

Therefore, the emergency revision of the policy should not deal only with substance use but also look into other preventive program both in schools and in the communities for substantial solution.

การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น

สวรรยา สิริภคมงคล, สำาราญ สิริภคมงคล, เกรียงกมล เหมือนกรุด, มนัญญา นิโครธ,อัญชลี คงคาน้อย, สุนทร แสงแก้ว, มรรคมณฑ์ สนองคุณ และ อุษณี สร้อยเพชร
บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดผลของรูปแบบการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่สร้างขึ้นแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ระยะ คือระยะที่ 1 เป็นการสร้างหลักสูตรการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยครูและผู้ปกครอง ระยะที่ 2 เป็นการทดลองและประเมินรูปแบบการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่สร้างขึ้น เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สุ่มอย่างง่ายโรงเรียนในสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษากำาแพงเพชรเขต 1 แบ่งตัวอย่างออกเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 51 คนรวมทั้งสิ้น 102 คน แบบสอบถามประกอบด้วยความรู้ทัศนคติและพฤติกรรมป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จากนั้นทดลองใช้รูปแบบการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามทั้งสองกลุ่มอีกครั้งด้วยข้อคำาถามเดิมทันทีหลังทดลองใช้รูปแบบ จากนั้นนำาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และนำาเสนอเป็นจำานวนและค่าร้อยละ สำาหรับการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของข้อมูลทั้ง 2 กลุ่ม ได้ใช้ paired t-test และ independent t-test ผลการศึกษาพบว่า หลังดำาเนินการกลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 20 มีทัศนคติทางบวกต่อการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับสูงเพิ่มขึ้นเกือบร้อยละ50 มีพฤติกรรมป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มประมาณ 9 ใน10 คะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หลังดำาเนินตามรูปแบบที่สร้างขึ้นมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.001) และแตกต่างกับกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ เพื่อให้รูปแบบการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นเกิดประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ควรพัฒนาหลักสูตรให้
เหมาะสมกับ วัฒนธรรม ความเชื่อ และ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้เกิดการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ยั่งยืน

 

PREVENTION CONSUMPTION ALCOHOL OF TEENAGERS

Sawanya Siriphakhamongkhon, Samran Siriphakhamongkhon, Kriangkamol Muankrud, Mananya Nikroth, Aunchalee Kongkanoi, Sunthorn Saengkhew, Makkamon Sanongkun and Usanee Soipetch
ABSTRACT

The object of this research is to measure model development on alcohol consumption prevention in teenagers. It was divided into 2 phases; phase 1 was to create a program to prevent drinking alcohol by teachers and parents; and phase 2 was to evaluate this preventive model. The 102 students in junior high school grade 1 at Kamphaengphet Educational Service Area Office 1 were divided in the experimental group and the comparison group by simple random sampling technique. The questionnaires were consisted of knowledge, positive attitude and prevention behavior of drinking alcohol. Then, the experimental group received the program on alcohol consumption prevention in teenagers. Frequency and percentage were used to present the results of analysis. The comparison of knowledge, positive attitude and prevention behavior of drinking alcohol between both groups were analyzed by using the paired t-test and independent t-test with 95% confidence interval. The results show that the model on alcohol consumption prevention in teenagers can increase > 20 % of knowledge, nearly 50 % in positive attitude, and about 9/10 in prevention of drinking alcohol behavior. In the experimental group, the mean scores of knowledge, attitude and prevention of drinking alcohol behavior significantly increased after the program and were different from the comparison group (p-value < 0.001). The study suggests that the model on alcohol consumption prevention in teenagers should be adapted for use accordingly. The program should be participated and supported by parents, teachers and the community.

ความแตกต่างของภาวะการตายในเขตเมืองและชนบทของประเทศไทย: กรณีศึกษาอำาเภอวังนำ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา

นันทวัน อินทชาติ
บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “ความแตกต่างของภาวะการตายในเขตเมืองและชนบทของประเทศไทย: กรณีศึกษาอำาเภอวังนำ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยกำาหนดของความแตกต่างของการตายของประชากรในเขตเมืองและเขตชนบท กำาหนดกรอบตัวอย่างการศึกษา จากรายงานการตายของกระทรวงสาธารณสุขปี พ.ศ. 2545 - 2549 สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลจากสมาชิกในครัวเรือนทุกคน และสัมภาษณ์ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ปัจจัยที่กำาหนดความแตกต่างของการตาย คือ Cox proportionalhazard model และ survival analysis ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตายในเขตชนบทแต่ไม่มีผลต่อเขตเมือง คือเพศ และการกินหมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลเหมือนกัน แต่มีขนาดของผลต่างกัน คือ อายุ การออกกำาลังกาย และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยอายุและการออกกำาลังกายมีผลต่อโอกาสความน่าจะเป็นของการตายของเขตเมืองมากกว่าชนบท ในขณะที่การเคี้ยวหมากมีผลต่อโอกาสความน่าจะเป็นของการตายในเขตชนบทมากกว่าเขตเมือง

 

THE MORTALITY DIFFERENTIALS IN THE URBAN AND RURAL OF THAILAND: A CASE STUDY OF WANG NAMkHEO DISTRICT, NAkHON RATCHASIMA PROVINCE

Nantawan Intachat
Abstract

The purpose of this study on “The Mortality Differentials in the Urban and Rural of Thailand: A Case Study of Wang Namkheo District, Nakhon Ratchasima Province” was to investigate the mortality differences among the urban and rural people and the determinant factors influence to that differences. The area of study was Wang Namkheo District, Nakhon Ratchasima Province, using the framework from the death report of the Ministry of Public Health during 2002 - 2006. A Multi-stage stratified random sampling was using at sub-district, village and household levels. The analysis was made using cox’s proportional hazard model and survival analysis. The determinant factors which had effects on the rural’s mortality were gender and areca nut chewing. The factor which effect on both area, but difference in magnitude were age, exercise and alcoholic drinking. Age and exercise of the urban were more
hazardous to death than the rural. Areca nut chewing of the rural was more hazardous to death than the urban.

ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกันยายน 2553